AIS จับมือ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Chulalongkorn Business School) ร่วมกันจัดทำหลักสูตร “Strategic Leadership in the Future Digital by CBS x AIS” ถ่ายทอดประสบการณ์จากการทำงานของบุคลากรมืออาชีพและผู้เชี่ยวชาญเชิงกลยุทธ์การบริหาร การตลาด เทคโนโลยีและนวัตกรรม ส่งต่อองค์ความรู้สู่คนรุ่นใหม่ สร้างภาวะความเป็นผู้นำให้นิสิต มีความพร้อมต่อการทำธุรกิจในยุคดิจิทัล นายสมชัย…
ChulalongkornUniversity
แพทย์จุฬาฯ ร่วมกับ EVER Medical Technology สร้างต้นแบบ “3D Virtual Reality” ระบบการฝึกใช้งานเครื่องมือแพทย์
ในโลกปัจจุบันการเรียนรู้ในวงการต่างๆ ด้วยเครื่องมือเสมือนจริง นับว่าได้รับความนิยมเพิ่มมากยิ่งขึ้น รวมไปถึงวงการแพทย์ ที่ล่าสุด บริษัท เอเวอร์ เมดิคอล เทคโนโลยี จำกัด เฮลท์เทคสตาร์ทอัพรุ่นใหม่ที่ต้องการให้คนทั่วโลกมีชีวิตที่ขึ้นด้วยการใช้เทคโนโยลีและนวัตกรรมใหม่ ได้ร่วมกับ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ยกระดับการให้บริการทางการแพทย์ ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือด้านการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนด้วยรูปแบบ VR บนแพลตฟอร์ม MDCU MedUMORE ในการสนับสนุนและพัฒนางาน ระบบการฝึกใช้งานเครื่องมือแพทย์โดยใช้เทคโนโลยีการจำลองสภาพแวดล้อมเสมือนจริงแบบ 3 มิติ…
NT จับมือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยร่วมพัฒนานวัตกรรมการวิเคราะห์ข้อมูล
NT และคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จับมือเดินหน้าพัฒนานวัตกรรมการวิเคราะห์ข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคม ดร. วงกต วิจักขณ์สังสิทธิ์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานดิจิทัล บริษัท โทรคมนาคมแห่งชาติ จำกัด (มหาชน) หรือ NT และ ศาสตราจารย์ ดร. วิเลิศ ภูริวัชร คณบดีคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมลงนามความร่วมมือทางวิชาการ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างนวัตกรรมและโครงสร้างพื้นฐานสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม…
DTAC ร่วมกระตุ้นท่องเที่ยวไทย เปิดชุดข้อมูลเด็ด Insight Mobility Dashboard ให้สาธารณะนำไปใช้ต่อยอดได้ฟรี
ดีแทค-สถาปัตย์ จุฬาฯ-บุญมีแล็บ เปิดตัว Mobility Data Dashboard แพลตฟอร์มเจาะลึกการท่องเที่ยวภายในประเทศผ่านข้อมูลมือถือ ต่อยอดงานวิจัย “Mobility Data เพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวเมืองรอง” เพิ่มโอกาสให้นักออกแบบนโยบายสาธารณะ ผู้สนใจด้านข้อมูล ผู้ประกอบการ นักลงทุน และประชาชนทั่วไป เข้าถึงข้อมูลเชิงลึกด้านการเคลื่อนที่คลอบคลุม 77 จังหวัด และ บทวิเคราะห์ศักยภาพเมืองรองพร้อมกับข้อเสนอเชิงนโยบายส่งเสริมการท่องเที่ยวเมืองรอง 55 จังหวัดเพื่อพัฒนาสู่การออกแบบนโยบายสาธารณะและบริการด้านการท่องเที่ยวที่แตกต่างกันตามศักยภาพของแต่ละเมืองแบบเจาะลึกรายพื้นที่ ละเอียดถึงระดับอำเภอ สำหรับ…
เปิด 19 เส้นทางท่องเที่ยวเมืองรองกับ DTAC – สถาปัตย์ CU – บุญมีแล็บ
ความท้าทายหนึ่งของประเทศไทยที่เผชิญมาตลอด 4 ทศวรรษนับตั้งแต่การเปลี่ยนประเทศเข้าสู่โลกยุคอุตสาหกรรมคือ “ความเหลื่อมเชิงพื้นที่” เศรษฐกิจของไทยใน 2563 หรือก่อนสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 มีมูลค่า 16.9 ล้านล้านบาท โดยปรากฏว่า 70% ของจีดีพีมากจากการผลิตสินค้าและบริการจาก 15 จังหวัดนี้เท่านั้น ซึ่งได้แก่ กรุงเทพฯ และปริมณฑล ชลบุรี ระยอง ฉะเชิงเทรา ภูเก็ต สงขลา สุราษฎร์ธานี เชียงใหม่…
DTAC – สถาปัตย์ CU – บุญมีแล็บ เผยเมืองรองที่ควรส่งเสริมเที่ยวแบบค้างคืน
อีกหนึ่งยุทธศาสตร์การส่งเสริมการท่องเที่ยวในเมืองรองที่น่าสนใจจากผลการศึกษาที่จัดทำขึ้นโดยดีแทค คณะสถาปัตยกรรมศาตร์ จุฬาฯ และบุญมีแล็บ ในโครงการส่งเสริมการท่องเที่ยวในเมืองรองผ่านการวิเคราะห์ข้อมูลการเคลื่อนที่ (mobility data) คือ การส่งเสริมการท่องเที่ยวแบบค้างคืนเพื่อสร้างประสบการณ์ใหม่ (Experience-based overnight tourism) ในเมืองรอง ผศ.ดร.ณัฐพงศ์ พันธ์น้อย อาจารย์ประจำภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อธิบายว่า ใน “การพักค้าง” เป็นดัชนีหนึ่งในการวัดความสำเร็จของการท่องเที่ยว เมืองที่มีผู้พักค้างมากถือเป็นเมืองที่มีความสำเร็จด้านการท่องเที่ยว เพราะการพักค้างทำให้เกิดการใช้จ่ายในพื้นที่มากกว่าการเดินทางแบบเช้าไปเย็นกลับ…
เจาะลึก Micro-tourism กับ DTAC – สถาปัตย์ จุฬาฯ – บุญมีแล็บ
ความเป็นจริง แนวคิด “ไทยเที่ยวไทย” ไม่ใช่เรื่องใหม่ แต่เกิดขึ้นมาพร้อม “วิกฤต” เสมอ ตั้งแต่วิกฤตต้มยำกุ้ง ไข้หวัดนก จนมาถึงล่าสุดวิกฤตโควิด-19 ที่รัฐบาลส่งเสริมผ่านมาตรการ “เราเที่ยวด้วยกัน” จากการวิเคราะห์ข้อมูล mobility data เพื่อการส่งเสริมการท่องเที่ยวเมืองรองที่เกิดจากการวิจัยร่วมกันระหว่างดีแทค คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ และบุญมีแล็บ พบว่า ในช่วงการระบาดของโรคโควิด-19คนไทยยังคงเดินทางท่องเที่ยวแบบ “เช้าไปเย็นกลับ” โดยมีค่าเฉลี่ยการเดินทางต่อเที่ยวอยู่ที่ประมาณ150 กิโลเมตร …