เอไอเอส อุ่นใจCyber ตอกย้ำภารกิจสร้างสังคมอุ่นใจจากการใช้งานในโลกไซเบอร์ ในฐานะเพื่อนคู่คิดดิจิทัล เพื่อคนไทยทุกเจนเนอเรชัน โดยมีเป้าหมายในการสร้าง Digital Literacy เพื่อเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตในการใช้งานบนโลกออนไลน์ให้เป็นพื้นที่สร้างสรรค์ ปลอดภัย จากการใช้เทคโนโลยีร่วมกันอย่างมีความสุข และเนื่องใน “วันความสุขสากล” AIS ขอร่วมเป็นส่วนหนึ่งของการขับเคลื่อนความสุขของทุกคนให้มีดัชนีเพิ่มมากขึ้นจากการเสริมทักษะความเข้าใจใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ภายใต้แนวคิด “กรอบความสุข” ที่อยากย้ำเตือนสังคมไทยให้ใช้งานอินเทอร์เน็ตโดยอย่ามัวติดกรอบความสุขตัวเองแต่ไปทำลายความสุขของคนอื่น นางสายชล ทรัพย์มากอุดม หัวหน้าฝ่ายงานประชาสัมพันธ์ บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์…
cyberbully
DTAC วอนสังคมทำสัญญาใจ เลิกล้อเล่น เหยียดเพศ อัตลักษณ์ส่วนตัว ชี้ต้องจบ!
ดีแทคร่วมกับคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาฯ เปิดเผยการระดมความเห็น Jam Ideation พบ 3 ประเด็นคนรุ่นใหม่ให้ความสำคัญ นำไปสู่การหยุดการกลั่นแกล้งออนไลน์ “มาตรฐานความงาม ความเท่าเทียมทางเพศ และการคุกคามทางเพศ” เรียกร้องสังคมร่วมสร้างบรรทัดฐานใหม่ ผ่าน “สัญญาใจ” #ให้ไซเบอร์บูลลี่จบที่รุ่นเรา จากการที่ดีแทคได้เปิดแพลตฟอร์มระดมความเห็นในรูปแบบ Jam Ideation #ให้ไซเบอร์บูลลี่จบที่รุ่นเรา เป็นเวลา 72 ชั่วโมง เมื่อวันที่…
เยาวชนชี้ควรกำหนด “แนวทางร่วมเพื่อหยุดไซเบอร์บูลลี่” ท่ามกลางการใช้เน็ตที่สูงขึ้น
ผลสำรวจชี้ 68% ของเยาวชนบอกว่า “การกลั่นแกล้งบนโลกออนไลน์เป็นปัญหารุนแรง” ในปัจจุบัน ผลการสำรวจโดยเทเลนอร์กรุ๊ปและองค์การแพลนอินเตอร์เนชั่นแนล ผ่านกลุ่มเยาวชนในประประเทศไทย มาเลเซีย บังคลาเทศ และปากีสถาน จำนวน 3,930คน ผลสำรวจโดยเทเลนอร์กรุ๊ปและองค์การแพลนอินเตอร์เนชั่นแนลเผย 2 ใน 3 ของเยาวชนในประเทศไทย มาเลเซีย บังคลาเทศ และปากีสถาน มองว่า “การกลั่นแกล้งทางโลกออนไลน์” เป็นปัญหาร้ายแรงสำหรับเเด็กและเยาวชนในปัจจุบัน ขณะที่สถานการณ์โควิด-19 เพิ่มปริมาณความชุกปัญหาไซเบอร์บูลลี่จาก…
เปิด 10 อินไซท์ Cyberbullying กับความบอบช้ำและเสียงความต้องการของเด็ก Gen Z
แม้ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยจะมีความตระหนักรู้ถึงปัญหาการกลั่นแกล้งทางโลกออนไลน์หรือ Cyberbullying มากขึ้น ภาครัฐ เอกชน และประชาสังคมต่างร่วมมือร่วมใจในการแก้ไขปัญหาผ่านการสื่อสารและการสร้างการรับรู้ อย่างไรก็ตาม การแก้ไขปัญหา Cyberbullying ในอีกทางหนึ่งมีความจำเป็นอย่างยิ่งในการกำหนด “มาตรฐานในการกำกับดูแล” เพื่อเป็น “หลักประกัน” ให้กับผู้ถูกกระทำ พร้อมกับสร้างแก้ไขปัญหาแบบองค์รวม นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงอย่างยั่งยืน ผศ.ดร.ธานี ชัยวัฒน์ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมและการทดลอง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในฐานะผู้ดำเนินการวิจัย กล่าวว่า ศูนย์วิจัยได้ร่วมทำงานกับดีแทค…
DTAC ร่วมพัฒนาหลักสูตร ‘การเคารพในความหลากหลายทางเพศเพื่อลด Cyber-bullying
30 กันยายน 2563 – หลักสูตร ‘การเคารพในความหลากหลายทางเพศเพื่อลดการกลั่นแกล้งทางออนไลน์’ มุ่งพัฒนาครูให้เป็นโค้ชเพื่อช่วยทำให้ “โรงเรียน” ซึ่งเป็นพื้นที่ทางสังคมแห่งแรกของเด็ก เป็นพื้นที่ที่เอื้ออาทรปลอดภัย ทุกคนเคารพความเท่าเทียมของมนุษย์ ผ่านการเรียนการสอนตั้งแต่เด็ก ให้เข้าใจถึงแนวคิด “ความแตกต่างหลากหลาย” ไม่ใช่ความผิดปกติ อันจะช่วยลดอคติและความเสี่ยงที่เด็กและเยาวชนจะกลั่นแกล้งรังแกเพื่อนและคนร่วมสังคมทั้งออนไลน์และออฟไลน์ ตามหลักการสิทธิมนุษยชนสากล จากงานวิจัยเรื่อง “การแกล้งกันของเด็กนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาและอาชีวศึกษา ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ในปี พ.ศ.2561” โดยความร่วมมือระหว่างคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย…
เปลือยวัฒนธรรม “บูลลี่” ผ่านเลนส์เศรษฐศาสตร์พฤติกรรม ปัญหาที่เป็นเหมือนยอดภูเขาน้ำแข็ง
“ก็แค่เด็กมันเล่นกัน อย่าไปจริงจังกับมันเลย” หลายคนคงเคยเผชิญกับประโยคเช่นนี้ในตอนเด็กต้องประสบกับสถานการณ์และพฤติกรรม “การกลั่นแกล้งรังแก” จนอาจเรียกได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมไทยไปเสียแล้ว แต่วัฒนธรรมนี้อาจไม่ได้เป็นผลดีสักเท่าไหร่นักเมื่อเทคโนโลยีดิจิทัลได้เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของการ “ขยาย” ทั้งขนาดและความชุกของปัญหา จากเดิมที่การกลั่นแกล้งรังแกอยู่ในวงจำกัดของสังคม ทำให้ปัญหาการกลั่นแกล้งทางโลกออนไลน์ หรือ Cyberbullying ของไทยทวีความรุนแรงขึ้นจนติดอันดับท็อปไฟว์ของโลก dtac blog ได้มีโอกาสพูดคุยกับ ผศ.ดร.ธานี ชัยวัฒน์ ผู้อำนวยการศูนย์เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมและการทดลอง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ซึ่งทำการศึกษาและวิจัยเกี่ยวกับพฤติกรรมการกลั่นแกล้งของสังคมไทยที่มีความเกี่ยวข้องและยึดโยงกับค่านิยมและการยอมรับของสังคมไทยมาอย่างช้านาน และดีแทคได้ร่วมมือกับคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดย…
คำด่าไหนฝังใจที่สุด “DTAC” ชี้ชาวเน็ตบูลลี่กันด้วยรูปลักษณ์ เพศวิถี และทัศนคติที่แตกต่าง
19 มิถุนายน 2563 – “ดีแทค” เผยชาวเน็ตไทยเสี่ยงเผชิญปัญหาการกลั่นแกล้งทางออนไลน์สูงขึ้น เหตุเด็กใช้เวลาออนไลน์สูงขึ้นเฉลี่ย 5 ชั่วโมงต่อวัน ขณะที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตไทยพบข้อความสร้างความเกลียดชัง (Hate speech) เฉลี่ย 39 ข้อความต่อนาทีบนโซเชียลมีเดีย กว่าครึ่งเป็นการเหยียดด้านรูปลักษณ์ เพศวิถีและทัศนคติ ขณะที่สถานศึกษาเป็นบ่อเกิดของปัญหาการแกล้งทางโลกออนไลน์ ด้าน “ครู” ไม่เข้าใจ-รับมือการแก้ปัญหา ขณะเดียวกัน ร่วมมือ “องค์การแพลน อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย” พัฒนาหลักสูตรสร้างความเข้าใจความหลากหลายทางเพศวิถี มุ่งแก้ปัญหาอย่างยั่งยืน นางอรอุมา ฤกษ์พัฒนาพิพัฒน์ ผู้อำนวยการอาวุโสสายงานสื่อสารองค์กรและการพัฒนาอย่างยั่งยืน บริษัท โทเทิ่ลแอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จำกัด (มหาชน)…