เร้ดแฮท ผู้นำระดับโลกด้านโซลูชันโอเพ่นซอร์ส ได้รับการจัดอันดับ จากการ์ทเนอร์ให้อยู่ในตำแหน่งผู้นำในกลุ่ม Leader ด้านความสมบูรณ์ของวิสัยทัศน์ (Completeness of Vision) ในรายงาน Magic Quadrant ด้าน Container Management จากผลิตภัณฑ์ Red Hat OpenShift[1] และยังติดอันดับหนึ่งในสามจากหกของตัวอย่างการนำไปช้งานใน 2024 Gartner Critical Capabilities…
RedHat
Red Hat วางตลาด OpenStack Service on OpenShift
เร้ดแฮท ผู้นำระดับโลกด้านโซลูชันโอเพ่นซอร์ส ประกาศวางตลาด (general availability) Red Hat OpenStack Services on OpenShift[1] ผลิตภัณฑ์ที่เป็นความเคลื่อนไหวครั้งสำคัญของแพลตฟอร์มOpenStack ของเร้ดแฮท และเป็นการเดินหน้าครั้งสำคัญขององค์กรต่าง ๆ โดยเฉพาะผู้ให้บริการด้านโทรคมนาคมที่จะใช้วิธีการใหม่นี้ในการควบรวมเครือข่ายแบบดั้งเดิมและเครือข่ายที่เป็นคลาวด์-เนทีฟเข้าเป็นหนึ่งเดียวกัน บนโครงสร้างเครือข่ายที่ทันสมัยได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น นอกจากนี้ Red Hat OpenStack Services on OpenShift…
Red Hat เปิดให้ใช้นวัตกรรม Open Source Generative AI ผ่าน Red Hat Enterprise Linux AI
Red Hat, Inc. (เร้ดแฮท) ผู้ให้บริการโซลูชันโอเพ่นซอร์สระดับแนวหน้าของโลก เปิดตัวRed Hat Enterprise Linux AI (RHEL AI) แพลตฟอร์มโมเดลพื้นฐานที่ช่วยในการพัฒนา ทดสอบ และใช้ generative AI (GenAI) ได้อย่างราบรื่น RHEL AI เป็นที่รวมของโซลูชันทรงประสิทธิภาพ ประกอบด้วย open…
Red Hat OpenShift AI ยกระดับความยืดหยุ่นในการใช้งานร่วมกับ Predictive และ Generative AI บน Hybrid Cloud
Red Hat, Inc. (เร้ดแฮท) ผู้ให้บริการโซลูชันโอเพ่นซอร์สระดับแนวหน้าของโลก ประกาศความล้ำหน้าของ Red Hat OpenShift AI แพลตฟอร์มปัญญาประดิษฐ์ (AI) และแมชชีนเลิร์นนิ่ง (ML) แบบโอเพ่นไฮบริดที่อยู่บน Red Hat OpenShift ซึ่งช่วยให้องค์กรสร้างและให้บริการแอปพลิเคชัน AI ได้เพียงพอต่อการใช้งานบนไฮบริดคลาวด์ทุกระบบ การอัปเดตครั้งนี้ย้ำวิสัยทัศน์ด้าน AI ของเร้ดแฮท…
สร้างความชาญฉลาดและยืดหยุ่นในยุค AI เริ่มจากโครงสร้างพื้นฐาน Open Hybrid Cloud ที่แข็งแกร่ง
เทคโนโลยีเป็นพลังขับเคลื่อนความสำเร็จของธุรกิจ เร้ดแฮทเชื่อว่านวัตกรรมจะพาธุรกิจก้าวไปข้างหน้า และธุรกิจต้องตัดสินใจว่าจะใช้เทคโนโลยีเกิดใหม่ เช่น AI อย่างไร ณ จุดไหน จึงจะเป็นประโยชน์ต่อองค์กรมากที่สุด AI เป็นตัวเร่งที่ปฏิเสธไม่ได้ต่อศักยภาพความพร้อมด้านดิจิทัลของประเทศไทย และหนึ่งในห้ากลยุทธ์ที่บรรจุใน แผนปฏิบัติการด้านปัญญาประดิษฐ์แห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (พ.ศ. 2565 – 2570) คือ “การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการพัฒนา AI ที่ยั่งยืน” ผลการศึกษาของสำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ร่วมกับสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ที่ได้สำรวจความพร้อมของการใช้…
ผลกระทบของระบบนิเวศด้านโทรคมนาคมที่วัดผลได้และมีความหมายต่อความยั่งยืน
โครงข่ายโทรคมนาคมปัจจุบันใช้พลังงานประมาณ 3% ของการใช้พลังงานทั้งโลก และปล่อยก๊าซเรือนกระจกประมาณ 2% ของการปล่อยก๊าซนี้ทั่วโลก แน่นอนว่าผู้ให้บริการโทรคมนาคมทุกแห่งต้องการลดต้นทุนการดำเนินงานด้านโครงข่ายของตนด้วยการประหยัดพลังงานให้มากขึ้น แต่การจะบรรลุเป้าหมายด้านความยั่งยืนได้นั้นเป็นเรื่องซับซ้อน มีความท้าทายทุกขั้นตอน และต้องการการทำงานร่วมกันของผู้ที่อยู่ในระบบนิเวศนี้ทั้งหมด ผู้ให้บริการจำนวนมากกำลังมองหาแนวทางนำปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาช่วยวิเคราะห์ข้อมูล อย่างไรก็ตาม AI อาจทำได้ดีเท่าข้อมูลที่เราป้อนเข้าไปเท่านั้น การรวบรวมข้อมูลที่แม่นยำมากพอในเรื่องต่าง ๆ เช่น รูปแบบการรับส่งข้อมูลและการใช้พลังงานทั้งบนระบบโครงข่ายแบบดั้งเดิม หรือที่อยู่บนคลาวด์และผู้จัดจำหน่ายหลายราย ยังคงเป็นความท้าทายที่ต้องการการแก้ไข รวมถึงการนำคำแนะนำต่าง ๆ…